NOT KNOWN FACTS ABOUT รากฟันเทียม

Not known Facts About รากฟันเทียม

Not known Facts About รากฟันเทียม

Blog Article

เว็บไซต์นี้ ใช้คุกกี้เพื่อนำเสนอข้อมูลรูปแบบต่างๆ เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์และประสบการณ์ที่ดีต่อท่าน และเป็นไปตาม นโยบายความเป็นส่วนตัวยอมรับ

รากฟันเทียมอักเสบ หรือติดเชื้อ มีโอกาสเกิดขึ้นได้ ก่อให้เกิดอาการเจ็บ หรือมีไข้ตัวร้อน หากไม่ได้รับการรักษารากฟันเทียมอาจเป็นหนอง กระดูกละลายใกล้รากฟันเทียม หรือเกิดรากเทียมเทียมหลุดออกมา หลังฝังรากฟันเทียมคุณควรปฎิบัติตามคำแนะนำของคุณหมอ โดยเฉพาะการรักษาความสะอาดในบริเวณที่ฝังรากฟันเทียมอยู่เสมอ

คนไข้ที่จะทำการเข้ารับการรักษาด้วยการทำรากฟันเทียม จำเป็นต้องเข้ารับการตรวจและประเมินจากทันตแพทย์เฉพาะทางอย่างละเอียด เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดปัญหา ทันตแพทย์ผู้เชี่ยวชาญที่มีความรู้ความเข้าใจเรื่องการบดเคี้ยวและขั้นตอนการทำทันตกรรมประดิษฐ์ จะทำการเลือกรากเทียมที่เหมาะสมกับคนไข้ หากคนไข้มีโรคประจำตัว หรือรับประทานยาอยู่ควรแจ้งให้ทันตแพทย์ทราบ นอกจากนั้นการดูแลสุขอนามัยช่องปากให้ดีเป็นสิ่งสำคัญที่คนไข้ควรปฏิบัติก่อนทำการเข้ารับการรักษา

แม้ว่าการทำรากฟันเทียมจะเป็นการรักษาที่ปลอดภัย แต่ก็มีโอกาสเกิดผลข้างเคียงได้เหมือนกับการผ่าตัดอื่น ๆ ตัวอย่างเช่น การติดเชื้อในบริเวณที่ใส่รากฟันเทียม การบาดเจ็บที่อวัยวะรอบข้าง การบาดเจ็บที่เส้นประสาท โพรงอากาศไซนัสอักเสบ หรือกระดูกไม่ยึดติดกับรากฟันเทียม

แม้ว่ารากฟันเทียมจะมีความแข็งแรงและใกล้เคียงกับฟันธรรมชาติมาก แต่ก็ยังต้องการการดูแลอย่างดีที่สุด เพื่อให้รากฟันนั้นติดแน่นกับกระดูก และไม่มีปัญหาเหงือกรอบรากเทียมจนทำให้กระดูกรอบรากฟันเทียมละลาย จนต้องเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาเพิ่มเติม โดยมีแนวทางการดูแลตัวเองหลังการทำรากฟันเทียมดังนี้

เมื่อถึงเวลาที่ต้องสูญเสียฟันแท้ชุดสุดท้ายไป ก็ได้เวลาที่ต้องหันมาพึ่งพาฟันปลอม แบบถอดได้…ด้วยความก้าวหน้าของแวดวงทันตกรรมในทุกวันนี้ เราสามารถมีฟันชุดใหม่เข้ามาแทนที่แบบติดแน่น ซึ่งจะช่วยให้คุณกลับมามีฟันไว้บดเคี้ยวอาหาร พูดคุย หรือยิ้มได้อย่างมั่นใจอีกครั้ง และจะอยู่กับคุณไปได้อีกนาน

หากสนใจทำรากฟันเทียม คุณสามารถเตรียมตัวได้ง่าย ๆ เพียงแค่

พูดจาออกเสียงได้ชัดถ้อยชัดคำและเป็นธรรมชาติ

การฝังรากฟันเทียมแบบวันเดียวเสร็จ จริงๆ ทำได้ทุกคน แต่ค่าใช้จ่ายก็จะเพิ่มขึ้น และที่สำคัญต้องขึ้นอยู่กับความพร้อมของตัวคนไข้เองด้วยครับ เพราะการฝังรากฟันเทียมต้องมีความพร้อมในเรื่องของ “กระดูก” เป็นหลัก และยังมีปัจจัยอื่นๆ อีกเช่น การดูแลความสะอาดของคนไข้ การบดเคี้ยวของคนไข้ใช้แรงเยอะไหม ปัจจัยเหล่านี้คุณหมอจะเป็นคนพิจารณาว่าคนไข้เหมาะที่จะทำรึเปล่า

ปริญาโท สาขาทันตกรรมเพื่อความสวยงามและรากเทียม รากฟันเทียม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

อาจารย์ประจำคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

วัตถุประสงค์และประโยชน์ของรากฟันเทียม

รากฟันเทียมเพื่อคนไทยโดยทันตแพทย์มากประสบการณ์​

สร้างเสริมคุณภาพชีวิตให้มีความสุขมากยิ่งขึ้น

Report this page